
เกี่ยวกับเรา
"ORXA Food Waste Composter"
โดยใช้การทำงานของจุลินทรีย์แบบใช้อากาศและผสมผสาน
นวัตกรรมการออกแบบให้ออกมาเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัย
สามารถเปลี่ยนรูปเศษอาหารให้กลายเป็นสารปรับปรุงดิน
ได้ภายใน 24-48 ชั่วโมง
"ORXA Food Waste Composter"
นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโดยบริษัท ดอลฟิน อินดัสทรีส์ จำกัด
ร่วมกับห้องปฏิบัติการแปรรูปของเสียและชีวมวล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ซึ่งผ่านการทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการ ระดับต้นแบบ ไปจนถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อนำไปใช้งานจริง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยลดปริมาณเศษอาหารและขยะอินทรีย์ ผ่านการแปรรูปให้เป็นสารปรับปรุงดิน
ภายใต้คอนเซป “ZERO WASTE"
และ "GREEN COMMUNITY"

แนวคิด

ลด
ปริมาณเศษอาหาร
และขยะอินทรีย์จากต้นทาง
ลด
งบประมาณที่ใช้
ในการจัดเก็บ
และกำจัดขยะมูลฝอย


ลด
มลพิษและปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการฝังกลบ
ขยะมูลฝอย

เปลี่ยน
เศษอาหารเป็นสารปรับปรุงดิน หรือปุ๋ยอินทรีย์ที่มีมูลค่าเพิ่ม

เปลี่ยน
เปลี่ยนชุมชนให้น่าอยู่
และมีรอยยิ้ม

- ติดตั้งและใช้งานง่าย "เสียบปลั๊กแล้วกด"
ผ่านหน้าจอสัมผัส
- ควบคุมและติดตามการทำงานด้วยระบบ IoT
- เติมอากาศและควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์สารปรับปรุงดินที่มีคุณภาพสูง
- กระบวนการหมักภายใน 24-48 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับ ปริมาณและคุณสมบัติของวัสดุหมัก
- นวัตกรรมที่ผ่านการวิจัย
และพัฒนา จากผู้เชี่ยวชาญ
ในประเทศไทย
- ออกแบบและผลิตในประเทศไทย
พร้อมการดูแลโดยวิศวกรและ
ผู้เชี่ยวชาญตลอดระยะเวลา
การใช้งาน
จุดเด่น

- พัฒนาและปรับปรุงสูตรการหมัก ด้วยวัตถุดิบภายในประเทศ
โดยนักวิทยาศาสตร์

ถังหมักเศษอาหาร
ทำงานแบบอัตโนมัติ
ด้วยหน้าจอสัมผัส
เทคโนโลยีชีวภาพในการย่อยสลาย
เศษอาหารด้วยระบบเติมอากาศ
และควบคุมอุณหภูมิ สามารถลด
ปริมาณเศษอาหารจากครัวเรือน
และชุมชนได้ในระยะเวลา
24-48 ชั่วโมง

เปลี่ยนเศษอาหารเป็น
สารปรับปรุงดิน
หรือปุ๋ยอินทรีย์
เศษอาหารที่ผ่านกระบวนการหมัก
แล้วจะกลายเป็นดินอินทรีย์
สารปรับปรุงดิน หรือปุ๋ยอินทรีย์
ที่มีคุณภาพ สามารถนำไปปรับปรุง
สภาพดินก่อนการเพาะปลูก
หรือนำไปผสมดินตามอัตราส่วน
เพื่อใช้ในการปรับปรุงสภาพดิน
ให้เหมาะสมกับการปลูกต้นไม้
และพืชผลทางการเกษตร

ลดการฝังกลบขยะมูลฝอย
ซึ่งก่อให้เกิดก๊าซมีเทน
หนึ่งในก๊าซที่สร้าง
สภาวะโลกร้อน
การหมักเศษอาหารโดยใช้อากาศช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทน
ต้นเหตุของภาวะโลกร้อน เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ใช้จุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายเศษอาหาร ซึ่งแตกต่างจากการหมักในสภาวะ
ไร้อากาศที่ทำให้เกิดก๊าซมีเทน







ORXA Food Waste Composter สอดคล้องกับหลายเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ ดังน ี้ :

ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน - ORXA เปลี่ยนเศษอาหารให้เป็นสารปรับปรุงดิน ช่วยสนับสนุนการเกษตรที่ยั่งยืน ทำให้ดินมีคุณภาพดีขึ้นและลดการใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งส่งเสริมให้การผลิตอาหารมีประสิทธิภาพและสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการได้มากขึ้น โดยเฉพาะเกษตรกร
ท้องถิ่น

สร้างหลักประกันการมีสุขภาวะที่ดี และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกช่วงวัย - ORXA ส่งเสริมการใช้สารปรับปรุงดินและลดการใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายในการเกษตรช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น ส่งผลดีต่อสุขภาพของชุมชน สภาพแวดล้อมที่สะอาดขึ้นย่อมส่งเสริมให้ผู้คนมีชีวิตที่ดีและ
ลดมลพิษ

ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน - ORXA สนับสนุนการจัดการขยะที่ยั่งยืนภายในชุมชน ลดขยะอาหารที่ส่งไปยังหลุมฝังกลบ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และส่งเสริมการใช้ชีวิตในเมืองที่สะอาดและยั่งยืนมากขึ้น

สร้างหลักประกันให้มีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน - ORXA มุ่งเน้นที่การจัดการขยะอย่างมีความรับผิดชอบและการนำทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ โดยการแปรรูปเศษอาหารเป็นสารปรับปรุงดินที่มีคุณค่า
ซึ่งเป็นการสนับสนุนหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน

ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น - ORXA ช่วยลดปริมาณเศษอาหารและขยะอินทรีย์ที่ถูกส่งไปฝังกลบ ช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีความรุนแรง จึงมีส่วนช่วยในการบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน -
ORXA ช่วยส่งเสริมการใช้สารปรับปรุงดินและปุ๋ยอินทรีย์แทนสารเคมีสังเคราะห์ ช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งช่วยในการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ
เป้าหมายเหล่านี้เน้นถึงบทบาทของ ORXA ในการส่งเสริมความยั่งยืน การปกป้องสิ่งแวดล้อม และความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน
ผลิตภัณฑ์
กว้างxยาวxสูง
1500x800x1000 มม.
20-40 กิโลกรัม
24-48 ชั่วโมง
1.4 กิโลวัตต์
250-300 กิโลวัตต์ชั่วโมง/เดือน
~250 กิโลกรัม
โหมดประหยัดพลังงาน,ปุ่มหยุดฉุกเฉิน,
หน้าจอสัมผัส 7 นิ้ว
ขนาด :
ความจุ :
ระยะเวลาการหมัก :
กำลังไฟฟ้า :
อัตราการใช้ไฟฟ้า :
น้ำหนักเครื่อง :
ฟังก์ชั่นเสริม :
กลุ่มเป้าหมาย



อุตสาหกรรม
โรงเรียน
โรงพยาบาล



โรงแรม
ร้านอาหาร
ซูเปอร์มาร์เก็ต
ขนาด :
ความจุ :
ระยะเวลาการหมัก :
กำลังไฟฟ้า :
อัตราการใช้ไฟฟ้า :
น้ำหนักเครื่อง :
ฟังก์ชั่นเสริม :
กว้างxยาวxสูง
1700x900x1200 มม.
40-60 กิโลกรัม
24-48 ชั่วโมง
2.2 กิโลวัตต์
300-400 กิโลวัตต์ชั่วโมง/เดือน
~300 กิโลกรัม
โหมดประหยัดพลังงาน,ปุ่มหยุดฉุกเฉิน,
หน้าจอสัมผัส 7 นิ้ว
กลุ่มเป้าหมาย



อุตสาหกรรม
โรงเรียน
โรงพยาบาล



โรงแรม
ร้านอาหาร
ซูเปอร์มาร์เก็ต
ขนาด :
ความจุ :
ระยะเวลาการหมัก :
กำลังไฟฟ้า :
อัตราการใช้ไฟฟ้า :
น้ำหนักเครื่อง :
ฟังก์ชั่นเสริม :
กว้างxยาวxสูง
1800x900x1200 มม.
60-90 กิโลกรัม
24-48 ชั่วโมง
2.2 กิโลวัตต์
300-400 กิโลวัตต์ชั่วโมง/เดือน
~350 กิโลกรัม
IoT, โหมดประหยัดพลังงาน,
ปุ่มหยุดฉุกเฉิน, หน้าจอสัมผัส 7 นิ้ว
กลุ่มเป้าหมาย



อุตสาหกรรม
โรงเรียน
โรงพยาบาล



โรงแรม
ร้านอาหาร
ซูเปอร์มาร์เก็ต
กว้างxยาวxสูง
2000x1000x1200 มม.
90-120 กิโลกรัม
24-48 ชั่วโมง
2.7 กิโลวัตต์
300-400 กิโลวัตต์ชั่วโมง/เดือน
~400 กิโลกรัม
IoT, โหมดประหยัดพลังงาน,
ปุ่มหยุดฉุกเฉิน, หน้าจอสัมผัส 7 นิ้ว
ขนาด :
ความจุ :
ระยะเวลาการหมัก :
กำลังไฟฟ้า :
อัตราการใช้ไฟฟ้า :
น้ำหนักเครื่อง :
ฟังก์ชั่นเสริม :
กลุ่มเป้าหมาย




อุตสาหกรรม
โรงเรียน
โรงพยาบาล


โรงแรม
ร้านอาหาร
ซูเปอร์มาร์เก็ต
อุปกรณ์เสริม
ระบบตรวจสอบและควบคุมการทำงานของเครื่องระยะไกล ด้วย IoT
- ตรวจสอบและควบคุมการทำงานของเครื่อง ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือแอพพลิเคชันโทรศัพท์ มือถือ ผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ต


ชุ ดผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์
- ใช้ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ในการทำงาน
- ลดต้นทุนการเดินเครื่อง
- ควบคุมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ORxA
ถังหมักเศษอาหาร
แบบเติมอากาศ
รุ่น RISSO
การจัดการ
ขยะมูลฝอย
แบบบูรณาการ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้..
กิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์




การศึกษาดูงานและเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้
การจัดการขยะต้นทาง ชุมชนเดชเจริญ
จากสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น
คลองหนึ่ง จังหวัดปทุมธานี




แนะนำวิธีการใช้ถังหมักเศษอาหาร
ให้กับ ชุมชนเดชเจริญ
เทศบาลเมืองคูคต
จังหวัดปทุมธานี
ร่วมวิจัยและพัฒนาถังหมักเศษอาหาร
เพื่อให้เหมาะกับชุมชน
ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Website : ถังหมักเศษอาหารระดับชุมชน – Kasetsart University Research and Development Institute (ku.ac.th)
เทคโนโลยีถังหมักขยะอินทรีย์สร้างรายได้ให้ชุมชนคนเทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี
ที่มา : KURDI Channel
KURDI Channel - YouTube




ร่วมสนับสนุนสนามซ้อมมวยสากล
“โอลิมปิก พรี-แคมป์ ชะอำ 2024”
ณ โรงแรม เชอราตัน หัวหิน
รีสอร์ท แอนด์ สปา